News

          คชศาสตร์ชาวกูย (https://www.elephantsandkuywisdom.com/ebook/index.html)           หนังสือ “คชศาสตร์ชาวกูย” เป็นหนังสือที่บอกเล่าเรื่องราวถึงความยิ่งใหญ่ของชาติพันธุ์ชาวกูย สะท้อนให้เห็นวิถีภูมิปัญญาชาวกูยที่ผูกพันกับช้าง ที่ชาวกูยสืบทอดต่อกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นำเสนอด้วยภาพประกอบสวยงามเป็นภาพจริงที่ทรงพลังมีความยิ่งใหญ่ในหลากหลายเหตุการณ์ ทำให้เห็นถึงเรื่องราวของชาวช้างสุรินทร์ ที่สามารถถ่ายทอดประวัติศาสตร์ชาติไทยและประวัติศาสตร์ของชาวกูยได้อย่างชัดเจน โดยมีคณะทำงานจัดทำหนังสือ “คชศาสตร์ชาวกูย”  ขึ้น ประกอบด้วยดังนี้    อำนวยการผลิตโดย : กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (THAI MEDIA FUND) ดำเนินการผลิตโดย : โครงการผลิตสื่อเพื่อการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้และเทิดทูนคุณค่าช้างไทยและชาติพันธุ์กูย บรรณาธิการ นักเขียน และถ่ายภาพโดย : อภินันทร์ บัวหภักดี ผู้ช่วยบรรณาธิการ และนิทรรศการภาพถ่ายโดย : กิ่งทอง มหาพรไพศาล ถ่ายภาพโดย : สราวุธ หวานเสร็จ ธนศักดิ์ 
Read more
                                                                                          
Read more
ข้าวจี่ : เมนูยอดฮิตฤดูหนาว..ชาวอีสาน         เป็นอาหารอย่างหนึ่งของคนอีสาน คำว่า “ข้าว” หมายถึงข้าวเหนียว ส่วน “จี่” เป็นภาษาอีสานแปลว่าเผาหรือย่าง การทำข้าวจี่ก็คือการนำข้าวเหนียวไปย่างไฟนั่นเอง วิธีทำคือนำข้าวเหนียวมาปั้นเป็นก้อนกลมหรือแบน ก็ได้ตามชอบ โรยเกลือป่นให้ทั่วแล้วย่างไฟอ่อน ๆ ให้เหลืองกรอบก็รับประทานได้เลย ถ้าจะให้อร่อยยิ่งขึ้นต้องทาด้วยไข่ แล้วนำไปย่างไฟอีกครั้งจะมีกลิ่นหอมอร่อย                                        หน้าหนาวเข้ามาแล้ว..คนท้องถิ่นอีสานต้องถามหาข้าวจี่ ข้าวจี่ ภูมิปัญญาอาหารช่วงหน้าหนาว คนอีสานจะก่อไฟผิงแก้หนาว 
Read more
ผ้าห่อคัมภีร์ใบลานในภาคอีสาน อัตลักษณ์และการแพร่กระจาย      Palm Leaf Manuscript Wrap in Northeast Thailand : Identity and Diffusion เรียบเรียงโดย รองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ ***************** บทที่ 1 วัฒนธรรมการสร้างคัมภีร์ใบลาน พระพุทธศาสนากับที่มาของวัฒนธรรมการสร้างคัมภีร์ใบลาน วัฒนธรรมการสร้างคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย อานิสงส์การสร้างคัมภีร์ใบลาน ผ้าห่อคัมภีร์ใบลานและความหลายหลายทางวัฒนธรรม บทที่ 2 การถวายผ้าห่อคัมภีร์ใบลานในมิติทางวัฒนธรรมของชาวอีสาน วัฒนธรรมการสร้างคัมภีร์ใบลานในภาคอีสานและงานพุทธศิลป์ การถวายคัมภีร์ใบลานและผ้าห่อคัมภีร์ในวัฒนธรรมอีสาน จุดประสงค์ของการถวายผ้าห่อคัมภีร์ในภาคอีสาน สภาพของคัมภีร์ใบลานภาคอีสานในปัจจุบัน บทที่ 3   ผ้าห่อคัมภีร์ใบลานที่ปรากฎในภาคอีสาน : แก้ซิ่นในวัด แก้ซิ่นในวัด..พบงานพุทธศิลป์แห่งพลังศรัทธา การห่อคัมภีร์ใบลานและการอนุรักษ์ผ้าห่อคัมภีร์ ลักษณะผ้าห่อคัมภีร์ในภาคอีสาน บทที่ 4  อัตลักษณ์ : 
Read more
  ผ้าไหมล้ำเลอค่า มหาสารคาม Maha Sarakham Precious Silk             นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ  ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ที่ปรึกษาการจัดทำหนังสือ “ผ้าไหมล้ำเลอค่า มหาสารคาม” ตามโครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์มรดกทางภูมิปัญญา “ผ้าไหมล้ำเลอค่า มหาสารคาม” เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 91 พรรษา  12 สิงหาคม พ.ศ. 2566 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เพื่อเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาการทอผ้าของชาวจังหวัดมหาสารคาม  ที่ได้สืบทอดมาจากบรรพชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์ที่โดดเด่น ดังคำขวัญประจำจังหวัด คือ พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร   โดยมีเนื้อหาพร้อมภาพสีสวยงาม ประกอบด้วยดังนี้ ผ้าไหมล้ำเลอค่า มหาสารคาม : สืบสานมรดกวัฒนธรรมจากบรรพชน มรดกผ้าทอเจ้าเมืองมหาสารคาม ผ้าไหมล้ำเลอค่า มหาสารคาม 
Read more
รายการบรรณานุกรมเศรษฐกิจพอเพียงอีสาน แหล่งศึกษาค้นคว้า เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงอีสาน รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศสารสนเทศเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอีสานที่ให้บริการในสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  แต่ละชื่อเรื่องทำรายการเชื่อมโยงไปยัง แหล่งสารสนเทศและเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) คลิก e-book บรรณานุกรมเศรษฐกิจพอเพียงอีสาน  แบ่งเป็นประเภท    หนังสือ      บทความ      กฤตภาค      จุลสาร        เอกสารวิจัย ช่องทางเพื่อเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ที่สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดวงเดือน ไชยโสดา…
Read more
รายการบรรณานุกรมอาหารพื้นบ้านอีสาน แหล่งศึกษาค้นคว้า เรื่อง อาหารพื้นบ้านอีสาน รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศสารสนเทศ เรื่อง อาหารพื้นบ้านอีสาน ที่ให้บริการในสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  แต่ละชื่อเรื่องทำรายการเชื่อมโยงไปยัง แหล่งสารสนเทศและเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) คลิก e-book บรรณานุกรมอาหารพื้นบ้านอีสาน  แบ่งเป็นประเภท    หนังสือ      บทความ      กฤตภาค      จุลสาร      ภาคนิพนธ์    เอกสารวิจัย ช่องทางเพื่อเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ที่สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ดวงเดือน ไชยโสดา…
Read more
  ไหลเรือไฟ : ความเชื่อ พลังศรัทธาต่อสายน้ำที่ยิ่งใหญ่ไทสองฝั่งโขง ในค่ำคืนวันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ เป็นวันที่ทุกคนรอคอยชมการไหลเรือไฟของชาวสองฝั่งแม่น้ำโขงนครพนม และเมืองท่าแขก แขวงคำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อบูชาพระแม่คงคา และบูชารอยพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งอดีตจากจินตนาการของศิลปินเรือไฟพื้นบ้านสู่ลำไม้ไผ่หลายร้อยลำมาสร้างเป็นเรือไฟ หลอมศรัทธา และพลังใจผู้คนสองฟากฝั่งสืบสานประเพณีอันดีงามให้คงอยู่ตลอดไปประเพณีไหลเรือไฟจากอดีตถึงปัจจุบัน มีการพัฒนารูปแบบการสร้างผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ บ้างก็เฉลิมฉลองด้วยพลุดอกไม้ไฟวิจิตรตระการตา นับเป็นศิลปะการออกแบบก่อสร้างจากแรงงานในท้องถิ่น และเป็นความภาคภูมิใจในการสืบสานประเพณีของท้องถิ่นมาถึงปัจจุบันชาวอีสานมีความเชื่อเกี่ยวกับประเพณีไหลเรือไฟอยู่ ๓ แนว คือ ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชารอยพระพุทธเจ้า  เมื่อครั้งพญานาคทูลอาราธนาพระพุทธองค์ไปแสดงธรรมในโลกพิภพ ครั้งจะเสด็จกลับพญานาคได้ทูลขอให้พระองค์ประทับรอยพระบาทไว้ ณ ริมฝั่งแม่น้ำนัมมทานที ในแคว้นทักขิณาบท ประเทศอินเดีย (ปัจจุบันเรียกว่าแม่น้ำเนรพุททา) ไว้เป็นที่เคารพของเทวดา มนุษย์ตลอดจนสัตว์ทั้งปวง   ความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระพุทธเจ้าเมื่อเสด็จกลับลงสู่โลกมนุษย์ ภายหลังเสด็จขึ้นไปจำพรรษาที่สรวงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพื่อแสดงพระธรรมเทศนาโปรดพระมารดา จึงเสด็จกลับลงมาสู่โลกมนุษย์ผ่านบันไดทิพย์ ๓ ทาง คือบันไดทองเบื้องขวา เป็นที่ลงของเหล่าเทพยดา บันไดเงินเบื้องซ้ายเป็นทางลงของหมู่พรหม 
Read more
เรียนรู้ภูมิปัญญา..ผญาภาษิต..               “บุนบ่อคาดได้ แสนสิฮอมกะจำห่าง บาดว่าบุนคาดได้ แสนสิเว้นกะเวินมา” คำแปล : ของสิ่งใดก็ตาม ถ้าบุญวาวสนาจะไม่เป็นของเราแล้ว ถึงแม้จะอยู่ใกล้แค่เอื้อมก็จำต้องห่างไกลออกไป แต่ถ้าบุญวาสนาจะเป็นของเราแม้จะพยายายาม หลีกเว้นแต่ก็ต้องพบจนได้ แหล่งข้อมูล : ภูมิ สาระผล. (2555). วัฒนธรรมอีสาน. โรงพิมพ์พระธรรมขันต์.
Read more
เรียนรู้ภูมิปัญญา..ผญาภาษิต..   คนเฮานี้ ต้องเผิ่งอาศัยกัน คือดังปลาอาศัยน้ำ น้ำกะเผิ่งวังปลา ปลาอาศัยวังเวิน จึ่งล่องลอยนาน้ำ ทามอาศัยห้วย งัวควยอาศัยแอก ตาแฮกอาศัยไก่ต้ม จึงโดนตุ้มจากคอน คือดังคอนอาศัยไม้ นกใส่อาศัยโกน คนกะอาศัยคน เผิ่งกันโดยด้าม คามอาศัยหม้อ หมอมออาศัยส่อง ฆ้องอาศัยไม้ฆ้อน ตีต้องจึงค่อยดัง..ซั่นแล้ว การพึ่งพาอาศัยกันถือเป็นเรื่องสำคัญของทุกสิ่งอย่าง
Read more
048854